กรณีศึกษาไอทีกับงานซ่อมบำรุงที่โรงพยาบาลศิริราช

1.เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตอบ มี ระบบเครือข่ายที่มีความสำคัญมากต้องใช้ในโรงพยาบาลเช่น ระบบซ่อมบำรุงเพราะต้องมีการป้อนข้อมูลแจ้งซ่อมผ่านทางระบบ ออนไลน์ ,

ระบบ Sap และระบบอื่นๆที่ต้องใช้งานในอนาคต
2.อินเทอร์เน็ต
ตอบ มี เพราะเป็นสิ่งที่จำเป็นและขาดไม่ได้ในการค้นหาข้อมูลต่างในการซ่อมบำรุง
3.พาณิชย์อีเล็กทรอนิกส์
ตอบ
มีเพราะใช้ในการสั่งซื้ออุปกรณ์สินค้าและบริการรวมทั้งการชำระค่าสินค้าและบริการด้วยและในอนาคตมีแนวโน้มว่าอาจนำPDAมาใช้อีกด้วย
4.ระบบสารสนเทศประมวลผลธุรกรรม
ตอบ
มี เพราะ ทำหน้าที่บันทึกรวบรวมข้อมูลในแฟ้มข้อมูลหรือฐานข้อมูล ประมวลผลข้อมูลที่เกิดจากการทำธุรกรรมและการปฏิบัติงาน เช่น การรวบรวมข้อมูลในการซ่อมบำรุงเพื่อเป็นข้อมูลให้รู้ว่าเครื่องมือนั้นซ่อมมากี่ครั้งควรซ่อมต่อหรือทิ้ง
5.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ตอบ
มี เพราะจะประมวลผลและสรุปผลจากแฟ้มข้อมูลหรือฐานข้อมูลที่ได้จากระบบสารสนเทศประมวลผลธุรกรรมเพื่อจัดทำสารสนเทศตามความต้องการของผู้บริหารเช่น ระบบ KPI ที่วัดผลของการทำงานและระบบนี้ยังสามารถรวบรวมข้อมูลเพื่อให้ผู้บริหารใช้ในการวิเคราะห์และวางแผนงานได้อีกด้วย
6.ร ะบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ตอบ
มี โดยการนำข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆมาช่วยในการตัดสินใจ เน้นการตัดสินใจอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้สารสนเทศเป็นพื้นฐานในการช่วยตัดสินใจของผู้บริหาร โดยข้อมูลต่างๆอาจมาจากทั้งภายนอกและภายในองค์การ เช่นอาจนำข้อมูลมาจากระบบ KPI เพื่อใช้ในการตั้งงบประมาณและวางแผนปฎิบัติงาน
7.ร ะบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง
ตอบ
มี เพราะช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาแนวโน้ม และการวางแผนกลยุทธ์ ยกตัวอย่างเช่นระบบซ่อมบำรุงที่จะมีผลการซ่อมจำนวนในการเบิกวัสดุรายงานข้อมูลการซ่อมเพื่อเป็นสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง
8.ป ัญญาประดิษฐ์ระบบผู้เชี่ยวชาญและระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ตอบ
ไม่มี แต่ควรมี เพราะเป็นการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถปฏิบัติงานเหมือนมนุษย์ เช่นอาจมีหุ่นยนตร์ที่ใช้ในการซ่อมงานในจุดที่อันตรายส่วนระบบผู้เชี่ยวชาญควรมี เพราะมีไว้เพื่อรักษาความรู้ของผู้เชียวชาญที่อาจสูญเสียหรือสูญหายเนื่องมากจากการลาอ อก การเกษียณ การเสียชีวิต เช่น การเก็บความรู้ในการซ่อมบำรุงโรงพยาบาลระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์หรือระบบ GIS ควรมีเพราะเป็นระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่
9.ระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
ตอบ มีเพราะเป็น ระบบสารสนเทศที่สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันเพื่อพัฒนาโรงพยาบาล
10.ระบบการวางแผนทรัพยากรในงานอุตสาหกรรม
ตอบ
ไม่มี แต่ ควรมีเพราะมีระบบที่สามารถนำมาใช้งานในโรงพยาบาลเช่นERP เป็นแอปพลิเคชั่นที่ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในหลายองค์การ ระบบ ERP ช่วยในการจัดการกระบวนการทางธุรกิจ (Business Process) ทั้งหมดในองค์การไม่ว่ากระบวนการผลิตสินค้า กระบวนการฝ่ายการเงินและการบัญชี กระบวนการขายและกระบวนการผลิต กระบวนการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์และอื่นๆ
11.การพัฒนาระบบสารสนเทศในงานอุตสาหกรรม
ตอบ ไม่มี ไม่ควรมี เพราะเป็นระบบในการพัฒนาในงาน อุตสหกรรม
12ระบบสำนักงานอัติโนมัติ
ตอบ มี เพราะเป็นเทคโนโลยีมาช่วยคนในสำนักงานให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น ระบบเครือข่าย และซอฟต์แวร์ต่างๆ


การใช้ประโยชน์จาก RFID ในห่วงโซ่อุปทานยา
1.ทำไมจึงต้องนำ RFID มาใช้งาน
ระบบ Radio Frequency ldentification (RFID) สามารถตรวจและบันทึกข้อมูลได้ลึกถึงระดับชิ้นของสินค้าสามารถตรวจสินค้าได้ทีละหลายชิ้นและสามารถตรวจสอบได้แม้ว่าจะมีของอย่างอื่นบังอยู่ จึงนำมาซึ่งผลดีของธุรกิจยาซึ่งใช้ในการตรวจสอบข้อมูลและประวัติยา
2.ข้อดี-ข้อเสียของการนำ RFID มาใช้งาน
ข้อดี
1.สามารถลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบยา
2.ช่วยบริหารสต๊อก
3.ป้องกันการปลอมแปลง
4.ตรวจสินค้าได้หลายชิ้น
5.สามารถตรวจสอบประวัติยา
6.ช่วยลดเวลาในการค้นหาสินค้า
ข้อเสีย
1.ราคาแพงเมื่อเทียบกับบาร์โค้ด
2.ระยะในการทำงานของ RFID ยังใช้ได้ระยะไม่ไกลนัก
3.ไม่เหมาะกับที่ที่มีโลหะมาก
4.สิทธิด้านความเป็นส่วนตัว (Privacy Right) ของผู้บริโภคกำลังถูกล่วงละเมิด
3.RFID ควรนำไปใช้งานด้านใดอีก จงอธิบายและให้เหตุผลประกอบ
ธุรกิจที่เหมาะกับ RFID อย่างยิ่ง คืออุตสาหกรรมการผลิตสินค้าสำหรับผู้บริโภคทั้งหลายและหน่วยธุรกิจค้าปลีก เพราะRFID สามารถใช้ในการติดตามสินค้าทุกขั้นตอนในวงจรผลิตภัณฑ์ ทั้งในส่วนขั้นตอนการผลิต การบรรจุหีบห่อ การขนส่ง สามารถใส่ข้อมูลลงในแทค เพื่อเก็บข้อมูลต่างๆสำหรับการจัดการผลิตภัณฑ์และการจัดจำหน่าย
1. อธิบายความหมายของกลยุธ์ และระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์
คำตอบ.กลยุทธ์ (Strategy)
คือ แผนรวมขององค์การที่นำเอาข้อได้เปรียบและจุดเด่นในด้านต่าง ๆ มาใช้ประโยชน์ และปรับลดจุดด้อย หรือเอาชนะข้อจำกัดที่มีอยู่เพื่อแสวงหาโอกาสและหลีกเลี่ยงอุปสรรคซึ่งจะทำให้องค์การสามารถอยู่รอดเจริณเติบโตได้ในระยะยาวรวมทั้งสามารถเอาชนะคู่แข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ เป็นระบบสารสนเทศใด ๆ ที่ช่วยสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันหรือลดความเสียเปรียบให้องค์การ
2. องค์การสามารถเลือกใช้กลยุทธ์ใดได้บ้างเพื่อรับมือแรงกดดันทางการแข่งขัน
คำตอบ.
1) กลยุทธ์ในการเป็นผู้นำด้านราคา (Cost Leadership Strategy)
2) กลยุทธ์สร้างความแตกต่าง (Differentiation Strategy)
3) กลยุทธ์เน้นกลุ่มเป้าหมาย (Focus Strategy)
3. กิจกรรมของห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) มีอะไรบ้าง และจงยกอย่างของระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในแต่ละกิจกรรม
คำตอบ.กิจกรรมมีดังนี้
1) กิจกรรมหลัก (Primary Activities)
- การลำเลียงเข้า (Inbound Logistics)
- การดำเนินงานหรือการผลิต (Operations)
- การลำเลียงออก (Outbound Logistics)
- การตลาดและการขาย (Marketing and Sales)
- การบริการ (Services)
2) กิจกรรมสนับสนุน (Support Activities)
- โครงสร้างพื้นฐานของบริษัท (Firm Infrastructure)
- การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resoure Management)
- การพัฒนาเทคโนโลยี (Technology Management)
- การจัดหา (Procrument)
ะบบสารสนเทศจะถูกนำมาใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ของห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) เพื่อปรับปรุงกระบวนการการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดต้นทุนและค่าใช้จ่าย หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ซึ่งอาจรวมถึงการสร้างสินค้าและบริการใหม่
4. กลยุทธ์ธุรกิจ (Business Strategy) กับกลยุทธ์ระบบสารสนเทศ (IS Strategy) และกลยุทธ์เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Strategy) มีความสัมพันธ์กันอย่างไร จงอธิบาย
คำตอบ.แผนกลยุทธ์ธุรกิจจะเป็นแนวทางในการกำหนดทิศทางของแผนกลยุทธ์ระบบสารเทศ ในขณะที่แผนกลยุทธ์ระบบสารเทศเป็นเครื่องชี้ทางแผนกลยุทธ์เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์การ
5. ระบบสารสนเทศระหว่างองค์การ (Interorganizational System : IOS) มีลักษณะอย่างไรและการที่สามารถเข้าดูข้อมูลในระบบได้จะมีประโยชน์อย่างไรต่อองค์การ
คำตอบ.เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนำมาเป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยงธุรกิจขององค์การกับบริษัทพันธมิตรเข้าด้วยกัน เช่น การใช้ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDI) หรือ Internet ในการเชื่อมโยงองค์การเข้ากับผู้จัดส่งวัตถุดิบในการผลิต เพื่อให้มีวัตถุเพียบพอ และในระดับที่เหมาสอกับความต้อวการ ทำให้ไม่ต้องจัดเก็บวัตถุดิบไว้ในคลังมากเกินความจำเป็นซึ่งเป็นการช่วยลดค่าใช้จ่ายในการจัดเก็บวัตถุดิบลงองค์การทำการเชื่อมโยงผู้จัดส่งวัตถุดิบเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลสารสนเทศกันและสามารถทำงานร่วมกันได้ ผู้จัดส่งวัตถุดิบสามารถเข้ามาดูข้อมูลเกี่ยวกับสถานะการผลิตของบริษัททางอิเล็กทรอนิกส์ได้ และทำการจัดวัตถุดิบให้ในเวลาที่ต้องการใช้โดยอัตโนมัติโดยที่องค์การไม่จำเป็นต้องออกใบสั่งซื้อ ซึ่งช่วยให้ลดขั้นตอนการดำเนินงานจากเดิม ลดการใช้กระดาษและลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานลงได้ ทั้งองค์การและผู้จัดส่งวัตถุดิบจึงเป็นผู้รับผิดชอบในร่วมกันการผลิต
1.ยกตัวอย่างระบบงานในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับปัญญาประดิษฐ์ โดยแยกตามลักษณะงานของปัญญาประดิษฐ์อย่างละ 1 ข้อ หรือให้มากที่สุด (เท่าที่หาได้)
ตอบ ข้อเปรียบเทียบระหว่างปัญญาประดิษฐ์กับคอมพิวเตอร์แบบธรรมดา
คอมพิวเตอร์ธรรมดา
ประมวลผลความรู้หรือสารสนเทศของคอมพิวเตอร์แบบธรรมดาเป็นไปตามอัลกอริทึม (Algorithm)

คอมพิวเตอร์ที่ใช้แนวคิดปัญญาประดิษฐ์
จะประมวลผลองค์ความรู้เป็นสัญลักษณ์ (Symbolic Processing) และความสัมพันธ์ระหว่างสัญลักษณ์นั้น เชื่อมโยงกันจนได้คำตอบของปัญหา
หุ่นยนต์ (Robotic)
หุ่นยนต์ (Robotic)เป็นเครื่องจักรไฟฟ้า ที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อให้ทำงานหรือกิจกรรมบางอย่างโดยอัตโนมัติแทนมนุษย์ สามารถสังเกตได้จากเครื่องจักรกลในโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั้งนี้เพื่อการเพิ่มผลิตผลในการทำงานและลดความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายกับมนุษย์
2.สมมติว่าท่านเป็นผู้บริหารโรงงานอุตสาหกรรมแห่งหนึ่ง ท่านจะนำข้อมูลในเรื่องใดบ้างมาประกอบการตัดสินใจการบริหารงานของท่านบ้าง จงยกตัวอย่าง
ตอบ การตัดสินใจในการบริหาร
• กำหนดปัญหา (Intelligence)
• พัฒนาทางเลือก (Design)
• เลือกทางเลือก (Choice)
• การนำทางเลือกไปปฏิบัติ (Implementation)

ระดับปฏิบัติการ (Operation Management)
–ควบคุมการดำเนินการขององค์กรให้เป็นไปตามแผนกลยุทธ์ที่กำหนดไว้
ระดับยุทธวิธี (Tactic Management)
–วางแผนและควบคุมการดำเนินการขององค์กรให้เป็นไปตามแผนกลยุทธ์ที่ผู้บริหารระดับสูงกำหนดไว้
ระดับกลยุทธ์ (Strategic Mangement)
–กำหนดนโยบาย เป้าหมาย และทิศทางขององค์กร

1. อธิบายความหมาย และองค์ประกอบหลักของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ตอบ ระบบจัดการข้อมูล (Data Management Subsystem)
ระบบจัดการแบบจำลอง (Model Management Subsystem)
ระบบจัดการฐานความรู้ (Knowledge-based (Management) Subsystem)
ระบบโต้ตอบกับผู้ใช้ (User Interface Subsystem)
ผู้ใช้งานระบบ (The User)
คลังข้อมูล (Data Warehouse)
เทคโนโลยีฐานข้อมูล (Database Technology)
เครื่องมือในการพัฒนาระบบ DSS (DSS Tools)
2. ลักษณะและความสามารถของระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีอะไรบ้าง จงอธิบาย ?
ตอบ 1.สนับสนุนการตัดสินใจทั้งในสถานการณ์แบบกึ่งโครงสร้างและไม่มีโครงสร้าง
2. สนับสนุนการทำงานของผู้บริหารได้หลายระดับ
3. สนับสนุนการตัดสินใจแบบเฉพาะบุคคลและแบบกลุ่มได้
4.สนับสนุนการตัดสินปัญหาที่เกี่ยวพันซึ่งกันหรือปัญหาแบบต่อเนื่อง
5. สนับสนุนทุกขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจ
6. สนับสนุนการตัดสินใจหลากหลายรูปแบบ
7. สามารถปรับเข้ากับข้อมูลให้เข้ากับเงื่อนไขต่างๆที่เปลี่ยนแปลงได้มีความยืดหยุ่นสูง
8. สามารถใช้งานได้ง่าย ด้วยภาษที่เข้าใจง่าย มีภาพประกอบ
9. เพิ่มประสิทธิผลในการตัดสินใจ ทั้งในด้านความถูกต้อง แม่นยำ ความรวดเร็ว และคุณภาพของการตัดสินใจ
10.มีการใช้แบบจำลองต่างๆช่วยในการวิเคราะห์สถานการณ์การตัดสินใจ
11.สามารถเข้าถึงข้อมูลได้หลายแหล่งทั้งในองค์กรและนอกองค์กร
3. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจขั้นสูงมีความแตกต่างจากระบบผู้เชี่ยวชาญอย่างไร ?
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่ จะทำการตัดสินใจเองเป็นส่วนใหญ่ขอบเขตของปัญหาจะแคบและเฉพาะเจาะจงและมี
ความสามารถในการใช้เหตุผลและการอธิบายระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ผู้ใช้เป็นคนตัดสินใจแทนระบบขอบเขต
ของปัญหาจะกว้างและซับซ้อน
4.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่มมีประโยชน์ และแตกต่างจากระบบสนับสนุนส่วนบุคคลอย่างไร ?
ตอบ การสนับสนุนการตัดสินใจส่วนบุคคล ผู้ใช้สามารถปรับเปลี่ยนเงื่อนไขต่างๆได้ด้วยตนเองระบบการตัดสินใจแบบ
กลุ่มต้องอาศัยการตัดสินใจในรูปของคณะกรรมการหรือคณะทำงานเนื่องจากปัญหานั้นผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย มี
ความซับซ้อนมีผลกระทบต่อทิศทางการดำเนินงานการใช้บุคคลเดียวในการตัดสินปัญหาอาจไม่สามารถทำได้อย่าง
รอบคอบและถูกต้องจึงต้องอาศัยการทำงานและการตัดสินใจของกลุ่มบุคคล
5.ระบบสนับสนุนการตัดสินใจนำมาใช้ในธุรกิจต่างๆ ด้านล่างนี้ได้อย่างไร จงอธิบาย และยกตัวอย่างประกอบ ?
ตอบ ใช้ในการศึกษารูปแบบการเลือกชื้อสินค้าของลูกค้าเช่นเมื่อลูกค้าชื้อคอมพิวเตอร์ ฝ่ายการตลาดก็จะใช้ข้อมูลใน
การวางแผนการสนับสนุนการขายสินค้า เมื่อชื้อไปแล้วจะต้องชื้ออะไรเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ และจำแนกกลุ่ม
ของลูกค้าที่มาชื้อสินค้าบ่อยๆ ประโยชน์เหล่านี้สามารถใช้ชี้นำเกี่ยวกับการกำหนดราคา การเพิ่มส่วนแบ่งตลาด
และการเพิ่มรายได้
5.1 ธุรกิจโรงเรียน ในระดับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เชิงยุทธวิธี และเชิงปฏิบัติการ
ตอบ โปรแกรมเครื่องมือในการออกเสียง
5.2 ธุรกิจโรงพยาบาล ในระดับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เชิงยุทธวิธี และเชิงปฏิบัติการ
ตอบ โปรแกรมการรักษาโรคของแพทย์
5.3 ธุรกิจผลิตรถยนต์ ในระดับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เชิงยุทธวิธี และเชิงปฏิบัติการ
ตอบ โปรแกรมการประกอบชิ้นส่วน
5.4 ธุรกิจขายรถยนต์ ในระดับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เชิงยุทธวิธี และเชิงปฏิบัติการ
ตอบ โปรแกรมตรวจสอบราคารถยนต์
5.5 ธุรกิจโรงแรม ในระดับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เชิงยุทธวิธี และเชิงปฏิบัติการ
ตอบ โปรแกรมเช็คข้อมูลการท่องเที่ยว
5.6 ธุรกิจผลิตน้ำแข็ง ในระดับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เชิงยุทธวิธี และเชิงปฏิบัติการ
ตอบ โปรแกรมการสั่งเปิดปิดระบบไฟฟ้า
5.7 ธุรกิจผลิตน้ำมัน ในระดับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เชิงยุทธวิธี และเชิงปฏิบัติการ
ตอบ โปรแกรมสั่งจ่ายน้ำมันจากหัวฉีด
5.8 ธุรกิจผลิตเม็ดพลาสติก ในระดับการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ เชิงยุทธวิธี และเชิงปฏิบัติการ
ตอบ โปรแกรมการสั่งซื้อวัตถุดิบ


ตอบคำถาม

คำถาม
1. ท่านคิดว่า RFID มีข้อได้เปรียบกว่าบาร์โค้ดอย่างไรบ้าง
ตอบ ลดงานที่ต้องใช้มือทำ เพื่อความแม่นยำในการตรวจสอบการขนส่งและจัดจ่าย สามารถตรวจสอบได้ว่าสินค้าถูกส่งออกจากโรงงานใด ผู้ผลิตคือใคร ราคาเดิมเท่าไร
2. จงยกตัวอย่างการนำเทคโนโลยี RFID ไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจต่าง ๆ มาอย่างน้อย 3 ตัวอย่าง
ตอบ นำไปใช้ในธุรกิจ เช่น
- การแพทย์ ใช้วิเคราะห์ และค้นหาพฤติกรรมของคนไข้ เพื่อทำการรักษา
- ห้างสรรพสินค้า
- การค้าปลีก ใช้วิเคราะห์เพื่อการบริโภคสินค้าของลูกค้า
3. ท่านคิดว่าข้อจำกัดของการนำ RFID ไปใช้ในงานธุรกิจมีอะไรบ้าง จงอธิบาย
ตอบ ข้อจำกัด คือ การนำ RFID ไปใช้ควรระมัดระวังด้านความปลอดภัย และความเชื่อใจให้แก่ผู้บริโภค

ตอบคำถามท้ายบทที่ 3

คำถามท้ายบทที่ 3
1. Instant Messaging (IM) คืออะไร สามารถสนับสนุนกระบวนการดำเนินธุรกิจได้อย่างไรบ้างและช่วยลดค่าใช้จ่ายโทรศัพท์ได้อย่างไร
ตอบ IM คือ โปรแกรมที่ใช้ในการสื่อสาร และส่งข้อความในระหว่างเพื่อนหรือกลุ่มคนที่อยูในอินเทอร์เน็ต โดยรูปแบบจะคล้ายกับ E-mail โดยรูปแบบการส่งข้อมูลจะประกอบไปด้วยตัวหนังสือในการส่งแต่ละครั้ง แต่จะต่างกับ E-mail ตรงที่ คุณไม่ต้องนั่งรอเป็นชั่วโมงหรือวันๆ เพื่อรอการตอบกลับจากเพื่อนของคุณ เพราะข้อความที่คุณส่งไป จะส่งตรงไปหาเพื่อนของคุณ “ทันที” เหมือนกับการพูดคุยปกติ สามารถสนับสนุนกระบวนการดำเนินธุรกิจ ทางด้านการสั่งซื้อสินค้าโดยการสั่งสินค้าผ่านระบบ Instant Messaging (IM) จะช่วยลดค่าใช้จ่ายแทนการสั่งซื้อทางโทรศัพท์


2. E-Commerce แตกต่างจาก E-Bussiness อย่างไร
ตอบ E-Commerce เป็นส่วนหนึ่งของ E-Bussiness คือ E-Bussiness จะมีการดำเนินธุรกรรมทุกขั้นตอนผ่าน สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในส่วนหน้าร้าน (Front Office) และหลังร้าน (Back Office) ในขณะที่ E-Commerce จะทำการซื้อขายสินค้าหรือบริการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น


3. E-Commerce กับ M-Commerce ต่างกันหรือไม่ จงอธิบาย
- (E-Commerce) ซึ่งเป็นแค่กระบวนการในการซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินค้าหรือบริการต่างๆ ผ่านระบบเครือข่าย แต่ M-Commerce มาจาก Mobile-Commerce ก็คือ การทำธุรกรรรมผ่านทางโทรศัพท์มือถือ ซึ่งมีข้อได้เปรียบมากกว่า E-Commerce หลายอย่าง เช่น

1.Mobility ตรงนี้คงยอมรับกันได้ว่า มีมากกว่า E-Commerce เพราะเราสามารถนำโทรศัพท์มือถือไปยังที่ต่างๆ ได้สะดวกกว่าการต้องพกพา เครื่องคอมพิวเตอร์ แม้ว่าจะเป็น Notebook ที่นับวันจะมีขนาดเล็ก บาง น้ำหนักเบามากขึ้นแล้วก็ตาม

2.Reachability สามารถเข้าถึงได้ง่าย เรียกได้ว่า สมัยนี้ใครๆ ก็สามารถเป็นเจ้าของโทรศัพท์มือถือกันได้ไม่ยากนัก

3.Ubiquity ปัจจุบันเราใช้งานโทรศัพท์มือถือกันแพร่หลายมาก และใช้งานกันกว้างขวาง ไม่ได้ใช้เฉพาะในกลุ่มนักธุรกิจเหมือนในอดีต แต่ไปถึงแม่บ้าน นักศึกษา วัยรุ่น ฯลฯ

4.Convenience ด้วยขนาดที่พกพาได้ง่าย ทำให้เกิดความสะดวกในการนำไปใช้ และใช้งานได้ไม่ยาก เพียงกดปุ่มไม่กี่ปุ่ม ถ้าเทียบกับการใช้คอมพิวเตอร์ แล้วฟังก์ชันที่ทำงานบนมือถือจะสนองตอบการใช้งานที่ง่าย และใช้เวลาน้อยกว่า

4.จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างการทำธุรกิจแบบธุรกิจกับธุรกิจ (B2B), ธุรกิจกับลูกค้า (B2C), ธุรกิจกับภาครัฐ (B2G) และลูกค้ากับลูกค้า (C2C)
- ธุรกิจกับธุรกิจ (B2B) เป็นการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระหว่างที่มุ้งเน้นให้บริการกับลูกค้าที่เป็นองค์การธุรกิจด้วยกัน เช่น ผู้ผลิต-ผู้ผลิต ผู้ผลิต-ผู้ส่งออก ผู้ผลิต-ผู้นำเข้า และผู้ผลิต-ผู้ค้าส่ง ธุรกิจกับลูกค้า (B2C) เป็นการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้ขายที่เป็นองค์การธุรกิจกับผู้ซื้อหรือลูกค้าแต่ละคนอาจเป็นการค้าปลีกแบบล็อตใหญ่หรือเหมาโหล หรือแบบขายปลีกที่มีมูลค่าการซื้อขายสินค้าจำนวนไม่สูง ธุรกิจกับภาครัฐ (B2G) เป็นการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระหว่างเอกชนกับภาครัฐ ได้แก่การประมูลออนไลน์ (E-Auction) และการจัดซื้อจัดจ้าง (E-Procurement) ลูกค้ากับลูกค้า (C2C) เป็นการทำธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้บริโภคด้วยกัน ซึ่งเป็นการแลกเปลี่ยนและซื้อ-ขายสินค้าอาจทำผ่าน Website

5. จงยกตัวอย่างปัจจัยที่ทำให้พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประสบความสำเร็จและล้มเหลวมาอย่างละ 5 ข้อ
1. การส่งงานออกแบบให้แก่ลูกค้าโดยผ่าน CD-ROM
2. การสั่งซื้อหนังสือจากเว็บไซด์
3. การส่งข้อมูลการโอนเงินระหว่างธนาคาร (Electronic Fund Transfers : EFT)
4. การจองตั๋วชมภาพยนตร์ผ่านโทรศัพท์มือถือ
5. การส่งเอกสารผ่าน EDI (Electronic Data Interchange) ของกรมศุลกากร

6. Internet ส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิตหรือซัพพลายเออร์กับลูกค้าอย่างไรบ้าง
- เป็นชุมชนอิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่มีทั้ง ผู้ซื้อ ผู้ขาย ผู้ผลิตหรือซัพพลายเออร์ เข้าออกแล้วค้นหาสินค้าและบริการตลอดเวลา จึงเป็นแหล่งที่เอื้ออำนวยต่อการประกอบธุรกิจ Internet จึงเป็นเหมือนจุดศูนย์การในการทำธุรกิจของโลกปัจจุบันมาก

7. Internet มีประโยชน์ต่อการให้บริการลูกค้าอย่างไรบ้าง
- มีหน้าที่ให้บริการต่าง ๆ กับลูกค้าตั้งแต่การค้นข้อมูลของ สินค้าและบริการ การสั่งซื้อ หรือแม้แต่การชำระเงินก็สามารถทำได้สะดวก สินค้าและบริการบ้างอย่างก็จะมีการให้บริการหลังการขายผ่านทาง Internet ด้วย

8. ในยุคความเจริญของ internet ความเร็วสูง การจำหน่าย softeware ในรูปแบบของ CD-Rom น่าจะลดน้อยลงและได้รับความนิยมน้อยกว่าการจำหน่ายโดยวิธีการ download ผ่านทาง internet แต่ในปัจจุบันกลับไม่เป็นเช่นนั้น การจำหน่าย software ในรูปของ CD-Rom ยังคงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ท่านคิดว่าเป็นเพราะเหตุผลใด
- เพราะการติดตั้ง software โดยผ่าน CD-ROM น่าจะช่วยลดปัญหาไวรัสเข้าสู่ระบบ Computer มากกว่าการ Download ผ่านทาง Internet

9.จงยกตัวอย่างของธุรกิจที่ทำการค้าแบบ E-Commerce มา 1 ธุรกิจ
- การจำหน่ายรถยนต์มือสองผ่านทาง Internet

บทที่ 4 บทบาทระบบสารสนเทศในงานอุตสาหกรรม
สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ มนุษย์แต่ละคนตั้งแต่ เกิดมาได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก เรียนรู้สภาพสังคมความเป็นอยู่ กฎเกณฑ์และวิชาการ ลองจินตนาการ ดูว่าภายในสมองของเราเก็บข้อมูลอะไรบ้าง เราคงตอบไม่ได้ แต่สามารถเรียกเอาข้อมูลมาใช้ได้ ข้อมูลที่เก็บ ไว้ในสมองเป็นสิ่งที่สะสมกันมาเป็นเวลานาน ความรอบรู้ของแต่ละคนจึงขึ้นอยู่กับการเรียกใช้ข้อมูลนั้น
ดังนั้นจะเห็นได้ชัดความรู้เกิดจากข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ทุกวันนี้มีข้อมูลรอบตัวเรามาก ข้อมูลเหล่านี้มาจากสื่อ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่การสื่อสารระหว่างบุคคล จึงมีผู้กล่าวว่า ยุคนี้เป็นยุคของสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศกำลังเข้ามามีบทบาทต่อชีวิตประจำวัน สังเกตได้จากการนำคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาใช้ใน สำนักงาน การจัดทำระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ การใช้อุปกรณ์อำนวยความสะดวกที่ประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ แสดงว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ เพื่อการคำนวณและเก็บข้อมูลได้แพร่ไปทั่วทุกแห่ง เทคโนโลยีสาร สนเทศมี บทบาทสำคัญต่อการแข่งขันด้านธุรกิจและการขยายตัวของบริษัท มีผลต่อการให้บริการขององค์การและหน่วยงาน และมีผลต่อการประกอบกิจในแต่ละวัน
ก่อนการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม ประชากรโลกส่วนใหญ่จะยึดอาชีพเกษตรกรรมเป็นแกนหลัก มีเพียงบางส่วนยึด อาชีพบริการและทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อมีการปฏิวัติอุตสาหกรรม พลเมืองในชนบทเป็นจำนวนมากละทิ้ง ถิ่นฐานเดิมจากการทำไร่ไถนามาทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม ทำให้เกิดการขยายตัวของประชากรในภาคอุตสาหกรรม และการลดน้อยลงในภาคเกษตรกรรม ขณะที่ผู้ทำงานด้านบริการจะค่อย ๆ ขยับสูงขึ้นอย่างช้า ๆ พร้อม ๆ กับการมีผู้ทำงาน ด้านสารสนเทศ ที่ค่อย ๆ เพิ่มสูงขึ้นตลอดอย่างต่อเนื่อง
ด้านอุตสาหกรรมและการบริการ ได้มีการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการผลิตและการบริการ เพื่อให้สามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูงขึ้นด้วยต้นทุนที่ต่ำลง เช่น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือการใช้คอมพิวเตอร์เข้าควบคุมกระบวนการผลิต เป็นต้น

บทบาทด้านอุตสาหกรรม (E-Industry)
โดยการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการควบคุมการผลิต การอำนวยความสะดวกในด้านการบริหารงาน และช่วยในการตัดสินใจ โดยเฉพาะการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการควบคุมการผลิต ซึ่งนำระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์มาใช้ เช่น การกำหนดและการสั่งจำนวนสินค้าที่ต้องการผลิตผ่านระบบเครือข่ายของบริษัท
สำนักงานใหญ่รับข้อมูลจากร้านค้าและสั่งให้โรงงานผลิตสินค้าในปริมาณที่เหมาะสมตามความต้องการของลูกค้ามากที่สุด จากนั้นโรงงานผลิตจึงส่งสินค้าไปเก็บที่คลังเก็บสินค้า แล้วจึงส่งสินค้าให้ร้านค้าตามที่สั่งเข้ามาที่สำนักงานใหญ่ ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนแต่ต้องใช้การติดต่อสื่อสาร รับและส่งข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารระบบเครือข่าย
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานอุตสาหกรรม
โรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่ง นำระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS) เข้ามาช่วยในการจัดการระบบงานการผลิต การสั่งซื้อ การพัสดุ การเงิน บุคลากร และงานด้านอื่น ๆ ในโรงงาน MIS เป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผน การออกแบบผลิตภัณฑ์ การวิจัยพัฒนา การควบคุมการทำงานของเครื่องจักรในโรงงาน ผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีสารสนเทศของระบบ MIS จึงนำมาประยุกต์ใช้กับงานอุตสาหกรรมได้ทุกประเภท ทั้งในอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดย่อม และอุตสาหกรรมในครัวเรือน
ระบบสารสนเทศในอุตสาหกรรม
เหตุผลในการทำระบบสารสนเทศ
ช่วยให้ผลิตสินค้าอุตสาหกรรมได้รวดเร็วและมีคุณภาพมากขึ้น รวมทั้งช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรในบางระดับไปได้มาก เช่น คนที่จะทำงานบางอย่าง ปกติเราต้องใช้ผู้ที่มีความชำนาญทำงานมานานๆ หรือมีความเชี่ยวชาญ หรือมีพรสวรรค์ในด้านนั้นโดยเฉพาะ แต่ว่าถ้าเราเอาพรสวรรค์เหล่านั้นมาสร้างเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นมา หรือใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่จะวัดอะไรต่างๆ ได้โดยจำนวนขึ้นมาได้แล้ว เราก็สามารถที่จะทำงานได้อย่างรวดเร็ว ใครก็มาทำงานในจุดนั้นได้ เพียงแต่ฝึกอบรมบ้างเล็กน้อยก็ทำได้ แล้วคนที่ทำงานในจุดนั้น ก็ต้องปรับปรุงพัฒนาตัวเองให้อยู่ในสภาพที่เป็นที่ต้องการได้
ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในองค์กรให้ทันกับความต้องการของตลาด ด้วยเหตุนี้ในปัจจุบันฝ่ายต่างๆ ในองค์กรจึงมีการจัดเก็บข้อมูลไว้มากมายอยู่ในรูปแบบเอกสารหรือตารางต่างๆ ในฐานข้อมูล ข้อมูลเหล่านี้อาจจะกระจัดกระจายอยู่ในแต่ละฝ่ายในองค์กร นับวันข้อมูล เหล่านี้ก็จะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยไม่ได้นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เช่น ฝ่ายบัญชีของบริษัทอาจจะมีระบบจัดเก็บและประมวลผลข้อมูลยอดขายในแต่ละเดือนและทำรายการเสนอไปยังฝ่ายต่างๆ เมื่อเวลาผ่านไปข้อมูลนี้ก็จะถูกเก็บไว้ต่างหาก โดยไม่ได้นำมาใช้อีกทั้งๆ ที่ข้อมูลนี้อาจจะมีประโยชน์กับฝ่ายการตลาดในกิจกรรมส่งเสริมการขายต่างๆ หรืออาจจะมีประโยชน์กับผู้บริหารบริษัทในการกำหนดนโยบายหรือทิศทางการดำเนินงานของบริษัท ไม่ต้องทำงานด้วยมือได้หลายอย่างมากทีเดียว โดยหันไปใช้วิธีการอัตโนมัติเข้ามาแทนการทำงานที่ใช้กระดาษและการทำงานด้วยมือซ้ำ ๆ (manual routines) ของบริษัทหรือหน่วยงานทั่วไป การลดค่าใช้จ่ายที่ชัดเจนอย่างหนึ่งคือ การลดขั้นตอนการดำเนินงานขององค์การ ซึ่งจะนำไปสู่การปรับโครงสร้างหน่วยงานใหม่ ปรับความร่วมมือในการทำงานใหม่ อันจะเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน เพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า
ขจัดอุปสรรคเรื่องระยะทางไกลออกไปได้จึงทำให้งานบางอย่างบางสถาณการณ์ไม่จำเป็นต้องทำในบริษัท เช่น พนักงานสามารถตระเวณไปพบลูกค้า และปรับปรุงข้อมูลการขายได้ทันทีโดยไม่ต้องใช้เอกสารกระดาษมากมายอย่างแต่ก่อน พนักงานบางแผนกสามารถทำงานได้ขณะอยู่ในรถโดยสาร อยู่ที่บ้าน และที่อื่น ๆ บริษัทเหล่านี้จะมีสำนักงานกลางเพียงเพื่อพบปะกับลูกค้าและพนักงาน ไม่ต้องมีบริษัทเพื่อให้พนักงานเข้าไปทำงาน ดังนั้นเราจะไม่เห็นคลังพัสดุ คลังเก็บสินค้าของบริษัทแบบนี้ เพราะใช้ระบบเชื่อมโยงกับผู้จัดหาสินค้า (suppliers) ด้วยระบบคอมพิวเตอร์โดยตรง นำสินค้ามาส่งให้เท่าที่ต้องการและในเวลาที่กำหนด (just in time) ได้เสมอช่วยให้ผู้บริหารมีความสามารถสูงยิ่งขึ้น ในด้านการวางแผน การจัดระเบียบองค์การ ความเป็นผู้นำ และการควบคุม เช่น ผู้จัดการในบริษัททันสมัยสามารถจะได้รับสารสนเทศ หรือ รับทราบการปฏิบัติงานขององค์การลงไปได้ถึงระดับปฏิบัติการเฉพาะ ได้ทั่วทั้งบริษัทได้ตลอดเวลา จึงสามารถใช้รายละเอียดของสารสนเทศ ทำการวางแผน คาดหมายล่วงหน้า และตรวจตราการทำงานได้ถี่ถ้วนอย่างไม่เคยทำได้มาก่อน
ระบบสารสนเทศจะช่วยให้องค์การมีความยึดหยุ่นมากขึ้นไม่ว่าจะในองค์การขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ ดำเนินการแบบองค์การเล็กได้ เช่น บริษัทขนาดเล็ก สามารถจะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศบริหารจัดการคลังพัสดุ และโรงงานผลิตโดยใช้ ผู้จัดการเพียง 2-3 คน ใช้พนักงานผลิตไม่กี่คนผลิตสินค้าได้ตลอด 24 ชั่วโมง และติดต่อจำหน่ายได้ทั่วโลกเหมือนกับบริษัทขนาดใหญ่ ในทางตรงกันข้าม บริษัทขนาดใหญ่จะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศบริการสินค้าตามความต้องการของลูกค้าจำนวนมาก (mass customization) ได้เหมือนบริษัทขนาดเล็กโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม

การประยุกต์ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการอุตสาหกรรม
โดยเฉพาะในการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ซึ่งแนวคิดการบริหารจัดการที่ให้ความสำคัญกับการเชื่อมโยงธุรกิจเข้าด้วยกันครอบคลุมตั้งแต่ต้นน้ำ (Upstream) ถึงปลายน้ำ (Downstream) เริ่มจาก Supplier จนถึงผู้บริโภค กล่าวคือตั้งแต่ผู้จำหน่ายวัตถุดิบ ฝ่ายจัดซื้อ (เพื่อช่วยจัดหาการรับคำสั่งซื้อ) ฝ่ายวางแผน ผู้ผลิต (เพื่อช่วยการวางตารางผลิต) การจัดการสินค้าคงคลัง ฝ่ายขายและการตลาด ผู้แทนจำหน่าย (เพื่อช่วยในการจัดการคลังสินค้า) รวมถึงการบริหารงานขนส่ง จนกระทั่งถึงผู้บริโภครายสุดท้าย และการบริการลูกค้า
ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการอุตสาหกรรมที่กำลังได้รับความนิยม อาทิ ระบบการวางแผนทรัพยากรขององค์กร (Enterprise Resource Planning: ERP) คือ ระบบที่ใช้ในการจัดการและวางแผนการใช้ทรัพยากรต่างๆ ขององค์กร โดยเป็นระบบที่เชื่อมโยงระบบงานต่างๆ ขององค์กรและเชื่อมโยงข้อมูลจากทุกแผนกที่เกี่ยวข้องเข้ามาสู่ฐานข้อมูลศูนย์กลาง ตั้งแต่การรวบรวมข้อมูลการสั่งสินค้าของลูกค้า การสั่งซื้อของลูกค้าผ่านตัวแทนขาย จนกระทั่งถึงขั้นตอนของการส่งสินค้าและเก็บเงิน โดยจะทำให้บริษัทดำเนินการได้ง่ายขึ้น และยังสามารถตรวจสอบสถานะการดำเนินงานได้ ซึ่งเป็นการประสานกัน ระหว่างกระบวนการ ตั้งแต่การผลิต การเก็บรักษาสินค้า จนถึงการขนส่งสินค้าให้ลูกค้าไปยังที่หมายปลายทางที่ต่างกันในเวลาเดียวกันได้ โดยช่วยให้การวางแผนและบริหารทรัพยากรขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งยังช่วยลดเวลาและขั้นตอนการทำงานอย่างไรก็ตาม ซอฟต์แวร์ ERP ราคาค่อนข้างสูง ไม่เหมาะกับธุรกิจที่เพิ่งจะเติบโต สำหรับ SMEs สามารถเลือกใช้งานซอฟต์แวร์ย่อยๆ ที่แบ่งเป็นโมดูลทีละส่วนก่อนได้ เช่น ระบบบัญชี ระบบสินค้าคงคลัง เป็นต้น หรืออาจใช้โปรแกรม Microsoft Excel ในการจัดการแทนที่จะเป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่อาจมีราคาแพง จะเห็นได้ว่าERP มีประโยชน์สำหรับธุรกิจตั้งแต่ขนาดย่อมไปจนถึงธุรกิจขนาดใหญ่สำหรับอุตสาหกรรมเซรามิก กรณีของผลิตภัณฑ์ของใช้บนโต๊ะอาหาร หรือของชำร่วย และเครื่องประดับ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ยังขาดการเชื่อมโยงสารสนเทศระหว่างองค์กร รวมไปถึงขาดนโยบายและเครื่องมือที่เหมาะสมในเรื่องการจัดการสินค้าคงคลัง ส่วนผลิตภัณฑ์กระเบื้องบุพื้น บุผนัง ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดใหญ่ ก็ยังขาดการเชื่อมโยงสารสนเทศระหว่างองค์กร เช่นเดียวกันสำหรับผลิตภัณฑ์เครื่องสุขภัณฑ์ ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ได้มีการเชื่อมโยงสารสนเทศในโซ่อุปทานระหว่างโรงงานกับผู้จัดจำหน่ายทุกสาขา ส่งผลต่อความสามารถในการตอบสนองความต้องการของลูกค้ากล่าวคือ ผู้ผลิต คือ โรงงาน พัฒนาระบบฐานข้อมูลภายใต้ Oracle เชื่อมโยงกับระบบ SAP ของผู้จัดจำหน่ายทุกสาขา ทำให้โรงงาน สามารถเช็กสต๊อกสินค้าว่าสาขาไหนมีเหลือเท่าไร หรือสินค้าตัวใดขาดอยู่
นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมระบบการผลิต การทำโปรโมชั่นสินค้าที่ต้องการยอดขายสูง อีกทั้งยังช่วยดูแลเรื่องระบบข้อมูลให้ง่ายขึ้น สามารถจัดการระบบต่างๆ ในองค์กรให้มีมาตรฐานมากขึ้นดังนั้น สิ่งที่อุตสาหกรรมเซรามิกส่วนใหญ่สามารถดำเนินการได้ คือการรวมกลุ่มของผู้ประกอบการ ซึ่งอาจจะเป็นการรวมกลุ่มผู้ประกอบการ SME ด้วยกัน หรือผู้ประกอบการ SME กับบริษัทผู้ซื้อขนาดใหญ่ การบริหารกลุ่มวิสาหกิจเครือข่ายและการเชื่อมโยงเป็นการบูรณาการที่เกิดการร่วมมือตั้งแต่การวางแผนการผลิตทั้งส่วนของ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑ์ และการบริการของกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วให้แก่ลูกค้า การเชื่อมโยงของระบบสายการผลิตและบริการ เป็นการเชื่อมโยงของระบบสารสนเทศและฐานข้อมูลของผู้ประกอบการต่างๆ เช่น ระบบการจัดซื้อ จัดหาวัตถุดิบ การติดต่อข้อมูลข่าวสารของผลิตภัณฑ์การผลิต การจัดส่ง การจัดซื้อ ผ่านระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการบูรณาการนี้จะเป็นการร่วมมือของผู้ประกอบการในกลุ่ม ให้มีความต่อเนื่องเสมือนหนึ่งเป็นผู้ประกอบการเดียวกัน


นางสาวจุฑาภรณ์

ประวัติส่วนตัว
1. ข้อมูลส่วนตัว
  • ชื่อ. นางสาว จุฑาภรณ์
  • นามสกุล ล้อมวงษ์
  • เกิด 9 มกราคม 2529
  • อายุ 23 ปี
2. ที่อยู่ปัจจุบัน
  • เลขที่ 195/1 หมู่ 2 ตำบล บ้านกร่าง อำเภอ ศรีประจันต์ จังหวัด สุพรรณบุรี รหัสไปรษณีย์ 72140

  • โทรศัพท์ 083-1143412,082-2126511
3. สถานที่ทำงานปัจจุบัน

บริษัทคริสเตียนีและนีลเส็น (ไทย) จำกัด มหาชน

ซอย เสริมสุวรรณ ตำบล มาบตาพุด อำเภอ เมือง จังหวัด ระยอง รหัสไปรษณีย์ 21150

โทรศัพท์ 038-681206 โทรสาร 038-682264


4. ประวัติการศึกษา

การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

วิทยาลัยสารพัดช่าง “ระยอง”

การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

สาย ศิลป์คำนวน (คณิตศาสตร์-ภาษาอังกฤษ)

โรงเรียน ศรีประจันต์”เมธีประมุข” (สุพรรณบุรี)

5. ประสบการณ์การทำงาน

ปี พ.ศ 2549 ถึง ปัจจุบัน

ชื่อหน่วยงาน โครงการวางท่อก๊าซธรรมชาติ

ที่ตั้ง ตู้ปณ.62 ปณจ.มาบตาพุด ตำบล มาบตาพุด อำเภอ เมือง จังหวัด ระยอง

ปี พ.ศ 2547 ถึง 2548 ชื่อหน่วยงาน Rice Silo Phase II Project ที่ตั้ง อำเภอ บางไทร จังหวัด พระนครศรีอยุธยา

6. ผ่านการอบรม
  • การจัดเก็บเกสารด้วย ระบบคอมพิวเตอร์

  • ณ ห้องอบรม บริษัทคริสเตียนีและนีลเส็น (ไทย) จำกัด มหาชน สำนักงานใหญ่ บางนา
นางพันทิพา เสาะสนธิ์
เลขที่ 8/14 ซ.แนนซี่ ถ.สุขุมวิท ต.เชิงเนิน อ.เมือง จ.ระยอง 21000
โทร. 038-613060 / 081-1597337

ข้อมูลส่วนตัว
วันเกิด 9 มีนาคม 2519
อายุ
33
เพศ หญิง
สถานภาพ สมรถ
ศาสนา พุทธ
ส่วนสูง 160
น้ำหนัก 56


ประสบการณ์การทำงานล่าสุด

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน
บริษัท เค เอ็น เอส โพไวร์เดอร์ จำกัด

- ตรวจสอบ ควบคุม ดูแลสำนักงาน
- จัดแผนงานอบรมพนักงาน
- จัดสำนักงานให้สอดคล้องกับงาน


การศึกษา

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
วิทยาลัยสารพัดช่าง “ระยอง”
สาขา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เกรดเฉลี่ย. : 3.25

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
โรงเรียนสตรีนครสวรรค์ (จังหวัดนครสวรรค์)
- วิทย์ – คณิต

งานอดิเรก
อ่านหนังสือ , เล่นกีฬา
จุดเด่น
ร่าเริงแจ่มใส ใจเย็น

ความสามารถพิเศษ
- มีความรู้ในการใช้งานคอมพิวเตอร์ Ms Word, Excel, PowerPoint,

- ขับรถยนต์

ชื่อ นายทวีพัฒน์ ประทุมยศ
เกิดวันที่ 12 ธันวาคม 2530
ที่อยู่ 14/1 ม.15 ต.ตะพง อ.เมือง จ.ระยอง
เบอร์โทร 085-0838239
E-mail
Taveepat@live.com

ประวัติการศึกษา

  • ประถมศึกษาโรงเรียนวัดตะพงนอก
  • มัธยมศึกษาโรงเรียนวัดตะพงนอก
  • ปวช.สาขาเครื่องมือกลและซ่อมบำรุง วิทยาลัยเทคนิคระยอง
  • ปวส.สาขาเทคนิคการผลิต วิทยาลัยเทคนิคระยอง
  • กำลังศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์

ประวัติการทำงาน

  • สถานที่ทำงาน NEUMAN&ESSER South-East Asia Ltd.
  • แผนก Production
  • ตำแหน่ง Technician
กรณีศึกษาบทที่ 1 : การใช้เครือข่ายไร้สายของบริษัทเฮิร์ตซ์ (Hertz)

1. จากการประยุกต์ใช้เครือข่ายไร้สายของบริษัทเฮิร์ตซ์ที่ได้กล่าวข้างต้น แอปพลิเคชั่นที่ประยุกต์เพื่อใช้งานธุรกิจภายในองค์การมีอะไรบ้าง และมีแอปพลิเคชันใดบ้างที่เน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลาง
  • การให้บริการเช่ารถยนต์ด้วยความรวดเร็ว

  • การคืนรถยนต์อัตโนมัติ

  • บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

  • การตรวจสอบเส้นทางเดิน

  • บริการเสริมสำหรับลูกค้า

  • การตรวจสอบตำแหน่งแอปพลิเคชันที่เน้นลูกค้าเป็นศูนย์กลางคือ บริการเสริมต่างๆ สำหรับลูกค้าไม่ว่าจะเป็นการให้บริการดาว์นโหลดข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ หมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉิน แผนที่แหล่งช้อปปิ้ง ตลอดจนร้านค้า โรงแรม และแหล่งบันเทิงต่างๆ ผ่านทางเครื่องพีดีเอ
2. ประโยชน์อะไรบ้างที่เฮิร์ตซ์ได้รับจากการตรวจสอบตำแหน่งของรถเช่า และในฐานะที่ท่านเป็นผู้เช่ารถ ท่านมีความเห็นอย่างไรบ้างเกี่ยวกับการดำเนินการในลักษณะนี้ประโยชน์ที่ได้รับ คือ

  • สามารถรับรู้ว่ารถของบริษัทอยู่ตำแหน่งใด

  • ป้องกันการขโมย และสูญหาย

  • เป็นการสร้างความปลอดภัย และความเชื่อมั่นให้แก่บริษัทของตนเอง

  • ทำให้ลูกค้ารู้สึกมีความปลอดภัย หากบริษัทมีการสอดส่องดูแลความเคลื่อนไหวในฐานะเป็นลูกค้า

  • ไม่มีความเป็นส่วนตัว

  • แสดงท่าทีไม่ไว้ใจลูกค้าว่าอาจจะขโมยรถ

กรณีศึกษาที่ 2. การใช้ RFID ในห่วงดซ่อุปทานของยา

ท่านคิดว่า RIFD มีข้อได้เปรียบกว่าบาร์โค้ดอย่างไรบ้าง

สามารถตรวจสอบยาต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและง่ายกว่าบาร์โค้ดเนื่องจากการใช้ RIFD นั้นสามารถระบุลักษณะของวัตถุด้วยคลื่นความถี่วิทยุแต่ส่วนของบาร์โค้ดนั้นต้องนำที่สแกนไปสแกนให้ตรงกับตำแหน่งที่ติดตั้งฉลากบาร์โค้ดจึงทำให้เป็นการเสียเวลามากกว่า

2. จงยกตัวอย่างการนำเทคโนโลยี RFID ไปประยุกต์ใช้ในธุรกิจต่าง ๆ มาอย่างน้อย 3 ตัวอย่าง

  • ร้านรองเท้า

  • ร้านเครื่องเขียน

  • ห้างสรรพสินค้า

3. ท่านคิดว่าข้อจำกัดของการนำ RFID ใปใช้ในงานธุรกิจมีอะไรบ้าง

  • การติดตั้งระบบค่อนข้างมีราคาแพงอาจไม่คุ้มทุนนะถ้าหากว่าธุรกิจมีขนาดไม่ใหญ่ และ การดูแลระบบอาจเป็นเรื่องที่ต้องใช้ความชำนาญเป็นพิเศษ ซึ่งอาจจะต้องจ้างผู้ตรวจสอบระบบเพิ่มต่างหากทำให้เป็นการเพิ่มภาระต้นทุนให้กับธุรกิจSAN Systemยุคการจัดการความรอบรู้ได้เริ่มต้นขึ้นแล้ว อิเล็กทรอนิกส์ทำให้ระบบการเรียนรู้ต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไปมาก เรามีระบบการเรียนรู้แบบใหม่ที่ชื่อ eLearning ใช้สื่อข้อมูลเป็นแหล่งการเรียนรู้ใหญ่ มีระบบ eLibrary เก็บข้อมูลหนังสือที่เป็นแบบ eBook รวมทั้งสิ่งพิมพ์ประเภท eMagazine eJournal และ eProceeding ระบบ e ยังทำให้เกิดการเรียนรู้แบบ eEducation on Demand หรือ eEODหากแหล่งความรู้มีการจัดเก็บในรูปแบบสื่อดิจิตอล ซึ่งก็ต้องใช้ที่เก็บจำนวนมาก การใช้ที่เก็บในรูปสื่อมัลติมีเดีย ทำให้ขนาดของที่เก็บมีขนาดความจุเพิ่มสูงขึ้น ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลจะก้าวหน้าไปมากแล้วก็ตาม การดำเนินการพัฒนาขนาดและเทคโนโลยีก็ต้องดำเนินต่อไป เพราะหากพิจารณาถึงขุมความรู้จำนวนมหาศาลที่จะเก็บ (ลองนึกถึงขนาดของ eLibrary หรือดิจิตอลไลบารีดู) การจัดเก็บจึงต้องมีการพัฒนาในอดีตที่ผ่านมา เราใช้แนวคิดที่ว่าคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่องประกอบด้วย ซีพียู หน่วยความจำหลัก และหน่วยความจำรองที่เก็บข้อมูลจำนวนมากได้ เช่น ฮาร์ดดิสค์ ซีดีรอม หรือดีวีดี นั้นหมายความว่า ระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งระบบมีที่เก็บข้อมูลหนึ่งที่ และให้คอมพิวเตอร์เหล่านั้นเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย ดังรูปเมื่อถึงคราวใช้งานบนเครือข่าย การคำนวณบนเครือข่ายย่อมต้องอาศัยการรับส่งข้อมูลระหว่างกัน บางแห่งมีการตั้งเป็นฟาร์มของเซิร์ฟเวอร์เรียกว่า เซิร์ฟเวอร์ฟาร์ม เซิร์ฟเวอร์เหล่านี้ดูแลฮาร์ดดิสค์หรือที่เก็บของตนเอง ดังนั้นเมื่อทำงานร่วมกันบนเครือข่ายก็จะมีการส่งผ่านข้อมูลระหว่างกันและโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน ใช้เวลานานมาก การจัดการข้อมูลที่มีขนาดใหญ่และส่งผ่านกัน ย่อมเกิดปัญหาในเรื่องการโอนย้ายผ่านเครือข่าย โดยเฉพาะช่องการส่งข้อมูลอาจมีจำกัด เช่น ระบบ SCSI ที่มีแถบจำกัดเซิร์ฟเวอร์ฟาร์มแนวคิดในเรื่องการจัดการข้อมูลจำนวนมาก จึงต้องปรับเปลี่ยนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของระบบโดยรวม ลองนึกดูว่า ถ้ามีข้อมูลขนาดใหญ่ชุดหนึ่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่อง ต้องใช้ร่วมกัน การที่จะให้เซิร์ฟเวอร์หนึ่งส่งข้อมูลไปให้เครื่องอื่นย่อมติดขัด ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานต่ำลง แต่หากให้ทุกซีพียู หรือเครื่องหลาย ๆ เครื่องเรียกใช้ข้อมูล ซึ่งเสมือนข้อมูลเก็บอยู่ในที่เก็บที่แบ่งการใช้งานได้ทันที ทำให้เสมือนการติดต่อผ่านระบบที่เรียกว่า SAN Storage Area NetworkSAN เป็นระบบเครือข่ายของที่เก็บข้อมูล โดยนำอุปกรณ์ที่จัดเก็บข้อมูลมาติดตั้งรวมกันเป็นเครือข่าย มีระบบจัดการข้อมูลบนเครือข่ายที่ทำให้รับส่งข้อมูลได้รวดเร็ว ทำให้ข้อมูลที่เก็บเสมือนเป็นส่วนกลางที่แบ่งให้กับซีพียูหลายเครื่องได้ การจัดเก็บที่เก็บแบบนี้จึงต้องสร้างสถาปัตยกรรมใหม่ เพื่อให้รองรับระบบดังกล่าว การทำงานนี้จึงคล้ายกับการสร้างเครือข่ายของที่เก็บข้อมูลแยกต่างหาก เป็นการสร้างระบบจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่อย่างมีประสิทธิภาพได้ และสามารถใช้งานได้ดีกว่าแบบเดิมด้วยเหตุผลที่แนวโน้มของการเก็บข้อมูลข่าวสารความรู้ในองค์กรมีมาก การดูแลฐานความรู้และข้อมูลข่าวสารขนาดใหญ่ จำเป็นต้องมีการสร้างระบบเพื่อรองรับองค์กรในอนาคต SAN จึงเป็นทางเลือกหนึ่งของการบริหารและจัดเก็บข้อมูลบนเครือข่าย
คำถาม
1. ประโยชน์ที่ร้านไฮศครีม lberry นำไอทีเข้ามาช่วยการบริหารงาน นอกจากการแก้ปัญหาข้างต้นแล้ว ท่านคิดว่าทางร้านยังได้รับประโยชน์ใดบ้างด้านการสั่งซื้อวัตถุดิบที่ขาดแคลน และ การบริการการส่งไอศครีม Iberry
  • ด้านการสั่งซ้อวัตถุดิบที่ขาดแคลน เนื่องจาก ร้านมีสาขา เยอะ แล้วในการจำหน่วยไอศครีม อาจจะมีบางช่วงที่ลูกค้าหนาแน่น จึ่งทำให้วัตถุดิบภายในร้านหมดลง ในการนี้ที่ร้าน ใช้ระบบ It จึงมีความจำเป็น ในด้านการสั่งซื้อของโดยตรงจาก สำนักงานใหญ่ หรือสาขาที่มีความรับผิดชอบในเรื่องการจัดส่งวัตถุดิบเข้าร้านไอศครีม Iberry
  • การบริการด้านการส่งไอศครีม Iberryทางร้านอาจจะใช้การสั่งซื้อ ผ่านระบบเครือข่าย Internet หรือ ระบบ Network แล้วในการส่งก็ต้องใช้ความชำนาญทางร้านไอศครีม ก็อาจจะ ใช้ ระบบ GPRS เข้ามาช่วยในระบบการส่งไอศครีม ให้กับผู้ที่สั่งซื้อ เป็นต้น
2. ท่านคิดว่าในอนาคตร้านไอศครีม lberry สามารถนำไอทีเข้ามาช่วยงานด้านใดอีกได้บ้างร้านไอศครีม Iberry สามาถนำไอทีเข้ามาช่วยงานในด้าน การขาย และการจัดส่ง
  • ในด้านการขาย ทางร้านอาจจะนำระบบ อินเทอร์เน็ต ในการทำ WWW. ของกิจการร้านเพื่อทำให้ ผู้บริโภคได้รู้จัก ร้านไอศครีม Iberry มากยิ่งขึ้น
  • การจัดส่ง เนื่องด้วยเป็นร้านไอศครีมการจัดส่งในแต่ละครั้ง จึงควรต้องมีความรวดเร็วในการจัดส่งไอศรีม ทางร้านจึงอาจจะนำระบบ GPRS เข้ามาช่วยระบบตำแหน่งที่จัดส่งอย่างแม่นยำ และจะช่วยลดเวลาในการหา ตำแหน่งที่จัดส่ง อีกด้วย
3.จากแนวคิดการนำไอทีมาใช้แก้ปัญหาของผู้บริหาร้านไอครีม lberry นั้น ท่านคิดว่าสามารถนำแนวคิดนี้ไปประยุกต์ใช้กับธุรกิจใดได้บ้าง จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบแนวคิดนี้สามารถประยุกต์ใช้กับธุรกิจ ร้านขายไม้ดอกและไม้ประดับ
  • ใช้ระบบเซนเซอร์ตรวจวัดอุณหภูมิอากาศ และควบคุมระบบการปล่อยน้ำลดต้นไม้
  • นำเอาระบบโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ด้วยระบบ Network Camera เข้ามาใช้ภายในร้าน ทำให้สามารถบันทึกภาพและเหตุการณ์ภายในร้านได้ตลอดเวลา และทราบถึง สภาพของต้นไม้ ที่เราเลี้ยงไว้ขายอีกด้วย
  • ใช้ระบบ Internet เข้ามามีบทบาทในการโปรโมทร้าน เพื่อทำให้บุคคล หรือผู้ที่สนใจ ได้รู้จัก ร้านขายไม้ดอกไม้ประดับ ดีมากยิ่งขึ้น และเขียน Forum เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความสนใจ ในพันธ์ ไม้ ต่างๆ ในแวดวงธุรกิจเดียวกัน
  • ใช้ระบบ เครื่องข่าย Network หรือ Internet ในการสั่งซื้อหรือจัดจำหน่าย และใช้ระบบ GPRS เพื่อเป็นการซัพพอตในการจัดส่งสำหรับผู้ใช้งาน

Web blog คืออะไร

บล็อก (blog) เป็นคำรวมมาจากคำว่า เว็บล็อก (weblog) เป็นรูปแบบเว็บไซต์ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลำดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้แรกสุด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อต่างๆ ไม่ว่า เพลง หรือวิดีโอในหลายรูปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล สามารถแสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน ซึ่งทำให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดยทันที คำว่า "บล็อก" ยังใช้เป็นคำกริยาได้ซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผู้ที่เขียนบล็อกเป็นอาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์"
บล็อกเป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยู่กับเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือสื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องส่วนตัวหรือจะเรียกว่าไดอารีออนไลน์ ซึ่งไดอารีออนไลน์นี่เองเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้บล็อกในปัจจุบัน นอกจากนี้ตามบริษัทเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดทำบล็อกของทางบริษัทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ใหักับลูกค้า โดยมีการเขียนบล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้าไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์
เว็บค้นหาบล็อกเทคโนราที ได้อ้างไว้ว่าปัจจุบันในอินเทอร์เน็ต มีบล็อกมากกว่า 112 ล้านบล็อกทั่วโลก
web blog คืออะไร หลายคนก็ได้ให้ความหมายสั้นๆว่าเป็นการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวส่วนตัว หรือเป็นบทความเฉพาะด้านต่างๆ
บล็อก คือ สื่อใหม่ (New Media) เป็นปรากฎการณ์ที่เปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารในอดีตอย่างสิ้นเชิง คนเขียนบล็อก สามารถทำหน้าที่เป็นสื่อด้วยตัวเอง ไม่ต้องพึ่งสื่อสารมวลชน เขาสามารถสื่อสารกันเองในกลุ่มเล็กๆ หรือกลุ่มใหญ่ก็ได้ ถ้าเรื่องไหน เป็นที่ถูกใจ ของชาวบล็อก ชาวเน็ต คนๆ นั้น อาจจะดังได้เพียงชั่วข้ามคืน โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยสื่อหลักช่วยเลย
จากที่ยกตัวอย่างความหมายของคำว่า "บล็อก" มาพอสังเขปจากหลากหลายแนวคิดแล้วนั้น ในส่วนตัวแล้วเห็นก็เห็นด้วยกับคำนิยาม หรือความหมายของBlog ทั้งหมด แต่โดยส่วนตัวนั้นอาจจะเพิ่มเติมในส่วนของบล็อก นั้นเป็นเสมือนเว็บไซต์สำเร็จรูป ที่มีระบบจัดการต่างๆ ได้มากมาย เหมาะสมกับผู้ที่ไม่สามารถพัฒนาเว็บไซต์ได้เอง และ บล็อก ก็ไม่จำกัดความสามารถในการพัฒนาต่อไป แบบไม่มีสิ้นสุด ซึ่งมีทั้งแบบฟรี แบบเสียค่าใช้จ่าย หรือแบบเขียนบล็อก เองหรือ สร้างmuli blog หรืออื่นๆ อีกมากมาย
ซึ่งจากนิยามความหมายของคำว่า บล๊อกคืออะไรนั้นคงไม่จำกัดเฉพาะแนวคิดใด แนวคิดถึง ซึ่งก็ยังมีนิยามต่างๆ ในแต่ละมุมของแต่ละบุคคลแตกต่างกันไป